วัคซีนในระยะทดลอง ของ การให้วัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย

วัคซีนชนิด (เทคโนโลยี)ความคืบหน้า
NDV-HXP-S (HXP-GPOVac)
มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสติน
เวกเตอร์เป็นไวรัสก่อโรคนิวคาสเซิล
(ตัดแต่งพันธุกรรมให้มีโปรตีนส่วนหนามของ SARS-CoV-2
โดยบางตัวมีและไม่มี CpG 1018 เป็นตัวเสริม)
ระยะ 1-2 (460)[60]
ทดลองแบบสุ่ม, ศึกษาควบคุมด้วยยาหลอก, อำพรางผู้สังเกตการณ์
ช่วงเวลาและแหล่ง: มีนาคม 2564–พฤษภาคม 2565 ประเทศไทย[61]
จุฬาคอฟ19
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อาร์เอ็นเอระยะ 1-2 (96)[62]
ศึกษาขนาดยา
ช่วงเวลาและแหล่ง: มกราคม–มีนาคม 2564 ไทย
Baiya SARS-CoV-2 Vax 1[63]
ใบยา ไฟโตฟาร์ม
ซับยูนิตระยะ 1 (96)[64]
ทดลองแบบสุ่ม, ทดลองแบบเปิด, หาขนาดยา
ช่วงเวลาและแหล่ง: กันยายน–ธันวาคม 2564 ไทย
โควิเจน[65]
ไบโอเน็ตเอเชีย, เทคโนวาเลีย, มหาวิทยาลัยซิดนีย์
ดีเอ็นเอระยะ 1 (150)[66]
Double-blind, dose-ranging, ทดลองแบบสุ่ม, ศึกษาควบคุมด้วยยาหลอก
ช่วงเวลาและแหล่ง: กุมภาพันธ์ 2564–มิถุนายน 2565 ออสเตรเลีย ไทย

แหล่งที่มา

WikiPedia: การให้วัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย //www.worldcat.org/issn/0362-4331 https://coconuts.co/bangkok/news/iconsiam-guard-ac... https://covid-19.researcherth.co/vaccination https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/915653 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/929077 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/930452 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/940295 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/940402 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/942502 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/945040